Accounting firm service

CHONLATEE BUSINESS
ปิดงบเปล่า |

บริการรับจดทะเบียนบริษัท รับทำบัญชี จดทะเบียนธุรกิจทุกประเภท จดทะเบียนบริษัท ห้างหุ้นส่วนจำกัด

การปิดงบเปล่า คือ อะไร

ที่มาของคำว่า “ ปิดงบเปล่า คือ ” เป็นคำศัพท์ยอดฮิตที่ติดหูสำหรับนักบัญชี แล้วเจ้าของธุรกิจอย่างเราจะต้องรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับ
การปิดงบเปล่า คือ งบการเงินของธุรกิจที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล (ห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือบริษัทจำกัด) แต่เป็นธุรกิจที่ไม่ดำเนินกิจการ ไม่มีรายได้ และไม่มีค่าใช้จ่าย เช่น ซื้อสินค้า ค่าเช่า ค่าแรงพนักงานในระหว่างปีเลย ไม่ว่าจะอะไรก็แล้วแต่ การปิดงบเปล่า คือ ถ้าในระหว่างปีนั้น ธุรกิจของเราไม่มีรายการเคลื่อนไหวใด ๆ เลย งบการเงินของกิจการนั้นจะเรียกว่า งบเปล่า เป็นที่มาของคำว่า
ปิดงบเปล่า 

ปิดงบเปล่า คือ ธุรกิจที่ไม่ดำเนินกิจการจะต้องส่งงบการเงินไหม?​

  ปิดงบเปล่า คือ ถึงแม้ธุรกิจของเราไม่มีรายได้ ค่าใช้จ่าย หรือรายการเคลื่อนไหวใด ๆ ก็ตาม แต่จะไม่มีข้ออ้างที่จะไม่ยื่นงบการเงินประจำปี
หรือการปิดงบเปล่า คือ ซึ่งในทางกฎหมายนั้น หากธุรกิจของเราเป็นรูปแบบของนิติบุคคลแล้ว
การปิดงบเปล่า คือ เราก็ยังจะต้องมีผู้ทำบัญชี ผู้ตรวจสอบบัญชี เพื่อรับรองและนำส่งงบการเงินประจำปีทุก ๆ ปี ยื่นกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากรให้ถูกต้องอยู่เป็นประจำทุก ๆ ปี  
ปิดงบเปล่า คือ หากมีปีใดปีหนึ่งเรามิได้นำส่งงบการเงินประจำปีนั้น ๆ เราจะโดนค่าปรับสองเรื่องคือ นำส่งงบล่าช้า และนำส่งภาษีช้า (ซึ่งในส่วนนี้อัตราก็จะแตกต่างกันตามระยะเวลาที่ล่าช้านั้นเอง)

เงื่อนไขของการ ปิดงบเปล่า คือ

สำหรับการปิดงบเปล่าเพื่อส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนั้น ผู้ประกอบการต้องศึกษาเงื่อนไขต่างๆ ที่บ่งบอกว่ากิจการของคุณต้องปิดงบการเงิน หรือปิดงบเปล่าหรือไม่ ดังนี้

งบเปล่าต้องไม่มีรายละเอียดต้นงวดยกมาที่เป็นสาระสำคัญ
ทุนจดทะเบียนของบริษัท จะต้องไม่เกิน 5 ล้านบาท หากนอกจากนี้จะไม่ถือว่าเป็นปิดงบเปล่า
งบเปล่า ต้องไม่มีรายการเคลื่อนไหวของบัญชีธนาคารนิติบุคคล หากงบที่มีรายการเคลื่อนไหวในธนาคาร ไม่ถือเป็นงบเปล่า ดังนั้น ต้องนำมาบันทึกบัญชีทั้งหมด
ปิดงบเปล่าสำหรับ หจก. ที่มีทุนไม่เกิน 5 ล้าน และมีรายได้ต่อปีไม่เกิน 30 ล้าน และมีทรัพย์สินรวมไม่เกิน 30 ล้าน แบ่งเงื่อนไขเป็น 2 แบบ คือ

– ส่งงบเปล่าให้กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ไม่ต้องมีผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเซ็นรับรองและแสดงความเห็น
– ส่งงบเปล่าให้กรมสรรพากร ต้องมีผู้สอบบัญชีภาษีอากรเซ็นรับรองงบการเงิน
งบมียอดสินค้าคงเหลือ แม้ว่าจะไม่มีรายการซื้อ-ขายระหว่างปี แต่งบที่มีสินค้าคงเหลือนักบัญชีและผู้สอบบัญชีจะต้องตรวจสอบและบันทึกรายการปรับปรุงเกี่ยวกับรายการ จึงไม่ถือว่าเป็นงบเปล่า
งบที่มียอดยกมาจำนวนมาก อย่างเช่นเงินจ่ายล่วงหน้ายกมา ลูกหนี้เจ้าหนี้ยกมา นักบัญชีและผู้สอบบัญชีจะต้องตรวจสอบและบันทึกรายการปรับปรุงเกี่ยวกับรายการเหมือนยอดสินค้าคงเหลือ ลักษณะนี้จึงไม่ถือเป็นงบเปล่าเช่นกัน

ปิดงบเปล่า คือ พร้อมจัดทำงบการเงินรับรองโดยมีผู้ทำบัญชี และได้รับการรับรองจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาต พร้อมทั้งการนำส่งกระทรวงพาณิชย์และกรมสรรพากรที่ถูกต้องตามกฎหมาย

จดทะเบียนบริษัท 9,500 บาท
ราคารวม VAT7% ค่าบริการและค่าธรรมเนียมต่างๆแล้ว

ด้วยความชำนาญ และประสบการณ์ ในงานด้าน รับจดทะเบียนบริษัท กว่า 10 ปี มีลูกค้าไว้ใจให้เราดำเนินการจดทะเบียนบริษัท กว่า 1,000 ราย/ปี ลูกค้าที่จดทะเบียนบริษัทกับเรา จะได้รับคำแนะนำที่เป็นประโยชน์สูงสุด และเราจะพยายามรักษาสิทธิ์ต่างๆ ที่ลูกค้าพึงได้รับ เมื่อดำเนินการจดทะเบียน เพราะเราเล็งเห็นถึงความสำคัญของการเริ่มต้นธุรกิจ และการดำเนินธุรกิจในระยะยาวให้ประสบความสำเร็จและยั่งยืน ซึ่งคำแนะนำของเราล้วนเป็นเป็นประโยชน์ และช่วยเรื่องความคล่องตัวในการดำเนินธุรกิจ

จดทะเบียนบริษัท ราคาพิเศษ 9,500 บาท
*** (ราคารวม VAT7%) ไม่มีจ่ายเพิ่ม

หมายเหตุ
*** ทุนจดทะเบียนไม่เกิน 1 ล้านบาท หากทุนจดทะเบียนเกิน 1 ล้านบาท ติดต่อพนักงานเพื่อสอบถามรายละเอียด

การปิดงบการเงิน คือการจัดทำงบการเงิน จากข้อมูลการจัดทำบัญชีแสดงรายรับ-รายจ่ายของกิจการตลอดทั้งปี ซึ่งโดยปกติมักจะบันทึกข้อมูลบัญชีภาษีต่างๆ เป็นรายเดือน แยกรายละเอียดรายรับ-รายจ่ายออกจากกันอย่างชัดเจน รวมไปถึงการจัดเก็บเอกสารการจัดซื้อต่างๆ ใบเสร็จ บิลต่างๆ แยกไว้เป็นหมวดหมู่ให้เรียบร้อย เพื่อให้ง่ายต่อการปิดงบการเงินในแต่ละรอบบัญชี โดยมีขั้นตอนการปิดงบการเงินดังนี้

1.รวบรวมเอกสารทางการเงิน

เช่น ใบเสร็จซื้อ-ขายต่างๆ แยกเป็นหมวดหมู่ จัดเรียงตามลำดับของเลขที่เอกสาร เพื่อให้ง่ายต่อการสรุปยอดบัญชี

2.กิจการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

VAT จะต้องมีรายงานภาษีซื้อ-ขายให้ครบถ้วน โดยจะต้องนำเอกสารใบกำกับภาษีซื้อขายแนบพร้อมกับรายงานภาษีซื้อ-ขายเก็บไว้ที่กิจการให้ครบถ้วน

3.จัดเตรียมรายงานการเงินที่เดินบัญชี

หรือ Statement ให้ครบถ้วนทุกเดือน หากขาดเอกสารของเดือนไหน ต้องไปขอรายการเดินบัญชีจากธนาคาร เพื่อให้สะดวกต่อการตรวจสอบ

4.เมื่อเตรียมเอกสารทั้งหมดครบถ้วนแล้ว

สำหรับกิจการที่มีเจ้าหน้าที่บัญชีอยู่แล้วก็สามารถจัดทำงบการเงินได้เลย ส่วนกิจการที่ยังไม่มีพนักงานบัญชีประจำบริษัท ให้ส่งเอกสารให้สำนักงานบัญชีที่มีความน่าเชื่อถือ เพื่อทำการปิดงบการเงิน

5.เมื่อปิดงบการเงินเสร็จแล้ว

ให้รวบรวมและจัดเก็บเอกสารจากการปิดงบการเงิน ในแต่ละรอบบัญชีให้เรียบร้อย ไม่ว่าจะเป็นสมุดรายวันแยกประเภท (G/L) ทะเบียนทรัพย์สิน สมุดรายวันทั่วไป เพื่อสมุดรายวันรับ สมุดรายวันจ่าย เป็นข้อมูลจัดเก็บสำหรับกิจการต่อไป ไม่น้อยกว่า 5 ปี ตามที่กฎหมายกำหนด

6.ส่งงบการเงิน

ท่านปิดงบการเงินเรียบร้อยแล้วให้แก่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และกรมกสรรพากรภายใน 150 วัน นับจากวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี

ป้องกันเสียค่าปรับ

– กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กรณียื่นงบการเงินล่าช้าไม่เกิน 2 เดือน จะมีการปรับทั้งผู้จัดทำบัญชี และ กรรมการผู้จัดการ หรือหุ้นส่วนผู้จัดการ หรือผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน ในอัตราไม่เกิน 2,000 บาท ตามแต่ประเภทของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี
– กรมสรรพากร หากมีการยื่นแบบล่าช้าในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน เสียค่าปรับ 1,000 บาท แต่ถ้าเกิน ระยะเวลา 7 วัน เสียค่าปรับ 2,000 บาท แต่ถ้าไม่ยื่นงบการเงินจะมีค่าปรับอาญา 2,000 บาท เป็นต้น

โดยค่าปรับกรณีไม่ได้ยื่นงบการเงิน มีอายุความ 1 ปี นับจากวันที่ครบกำหนดยื่นงบการเงิน และไม่สามารถผ่อนผันหรือยกเว้นการดำเนินคดได้ เนื่องจากถือเป็นความผิดทางอาญา

Contact Us

บริษัท ชลธี บิสซิเนส กรุ๊ป จำกัด

44/14 ซอยนิมิตใหม่ 12 แขวงทรายกองดิน
เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ 10510 

Mobile: 083-622-5555
094-491-4333, 095-793-7000
Fax: 02-914-6688